โจทย์ความท้าทายในการอยู่ร่วมกันของมุสลิมชนกลุ่มน้อย
...
Read MorePosted by Editor | Feb 21, 2017 | Uncategorized @th
...
Read MorePosted by Editor | Feb 21, 2017 | Uncategorized @th
ระหว่างการเปลี่ยนแปลงและการฟื้นฟู ประการแรก มีความแตกต่างกันระหว่างการเปลี่ยน (ตัฆยีร) และการฟื้นฟู(ตัญจ์ดีด) [1]เมื่อเราคิดเปลี่ยนบ้าน อย่างพื้นฐานที่สุดที่คุณต้องทำคือการย้ายบ้าน หรือบางทีต้องพังบ้านและสร้างใหม่ขึ้นมา แต่เมื่อคุณซ่อมแซมบ้าน คุณยังต้องเก็บเสาบ้าน ผนังและสภาพภายนอกทั่วไป แล้วสร้างสิ่งใหม่บนสิ่งที่มีอยู่เดิมแล้วเพื่อปรับสภาพบ้านให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง นั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตของท่านด้วยกับกาลเวลาที่ผ่านไป ในทำนองเดียวกัน มีผู้คนซึ่งเรียกร้อง “การฟื้นฟู” อิสลาม ในมิติของการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด หรือรื้อถอดโครงสร้างหรือตัวอาคาร การฟื้นฟูประเภทดังกล่าวมิใช่สิ่งที่ข้าพเจ้าเรียกร้องในคำตอบครั้งนี้ การฟื้นฟูและโลกทัศน์ นักเขียนหลายท่านเขียนเกี่ยวกับ “การฟื้นฟู” และวางประเด็นจากแง่มุมที่หลากหลาย นี่เป็นหัวข้อที่กว้าง อย่างไรก็ตาม ในขอบข่ายที่อนุญาตให้มีการถกเถียง ข้าพเจ้าตั้งประเด็นนี้จากแง่มุมผ่านสิ่งที่เราเรียกว่า “โลกทัศน์” โลกทัศน์ คือ ความเข้าใจที่มีต่อโลก (Sire, James W. Naming the Elephant. DOWNERS Grove, IL: Inter Varsity Press, 2004, p.19-20) โลกทัศน์เป็นชุดของ “กรอบอ้างอิงสำหรับประสบการณ์ของมนุษย์” (O. B. Jenkins, What Is Worldview?, 1999, and ‘a system of belief.’ Richard DeWitt, Worldviews: An Introduction to the History and Philosophy of Science (Malden, MA: Blackwell, 2004, p.3.) ดังนั้น โลกทัศน์ คือ ผลขององค์ประกอบจำนวนหนึ่งที่ก่อให้มนุษย์นั้น “รับรู้”ถึงโลก ต่อไปนี้ คือ ตัวอย่างของ “ทฤษฎี” ที่สร้างโลกทัศน์ให้กับมนุษย์ 1. พระเจ้า, โลก, มนุษย์, ชีวิตหลังความตาย, ความรู้, จริยธรรม และประวัติศาสตร์ ...
Read MorePosted by Editor | Nov 14, 2016 | Uncategorized @th
คำสำคัญ ในปัจจุบันการประยุกต์ใช้กฎหมายอิสลาม (หรือจะพูดว่าใช้อย่างผิด วัตถุประสงค์น่าจะตรงประเด็นกว่า) ส่วนมากเป็นไปในลักษณะแบบแยกส่วน โดยขาดการบูรณาการอย่างครอบคลุม, แบบตีความตามตัวอักษร โดยขาดสำนึก ด้านจริยธรรม,
Read More